มนุษย์นั้นเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ การใช้ธรรมชาติเพื่อเยียวยารักษาและป้องกันโรคนั้นเป็นภูมิปัญญาที่อยู่กับมนุษยชาติมานานนับพันนับหมื่นปี ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันนั้นได้ค้นพบว่า แท้จริงแล้วมนุษย์กับธรรมชาตินั้นมีความเชื่อมโยงกันอย่างแยกไม่ออก สารเคมีและฮอร์โมนในร่างกายมนุษย์และพืช รวมทั้งสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ อย่างจุลินทรีย์ธรรมชาตินั้นเกื้อกูลซึ่งกันและกัน เช่นระบบภูมิต้าทานของมนุษย์นั้นเกี่ยวข้องกับการทำงานของจุลินทรีย์นับล้านล้านตัวในลำใส้ พืชผักสดนั้นมีฮอร์โมนพืช เช่น Auxin หรือ Ethylene ที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์โปรไบโอติคส์ในลำใส้ของมนุษย์เรา ดังนั้น การหวนคืนกลับสู่ธรรมชาตินั้นเอง คือกุญแจสำคัญแห่งความสมดุลย์และการมีสุขภาพที่แข็งแรง
แม้ว่าวิตามินซี จะป็นวิตามินที่มีความสามารถต้านอนุมูลอิสระที่รู้จักกันดี แต่จากงานวิจัยพบว่ามันมีคุณสมบัติเป็นอนุมูลอิสระ prooxidant และอาจทำให้เกิดความเสียหายโดยการกระตุ้น การออกซิไดส์ของไขมัน lipid peroxidation
การใช้วิตามินซีนั้นในระยะสั้นดูจะไม่ได้ก่อเกิดประโยชน์ใด ๆ แต่ในระยะยาวนั้นอาจเป็นอันตรายต่อร่างกาย แต่ข้อสังเกตุที่สำคัญก็คือ วิตามินซีธรรมชาติจากอาหารนั้นไม่ก่อให้เกิดผลข้างเคียงที่เป็นอันตราย เหมือนกับวิตามินซีสังเคราะห์ในอาหารเสริม
ซึ่งคุณลักษณะนี้อาจเป็นได้ว่า สารต้านอนุมูลอิสระที่มีอยู่ตามธรรมชาติในอาหารมีความสมดุลทางชีวเคมี ซึ่งอาจเป็นไปได้ว่ามันเป็นความสมบูรณ์ของปฏิกริยารีด็อกซ์ ซึ่งประกอบไปด้วย ตัวรีดิวซ์ และออกซิไดส์ ซึ่งในสารสังเคราะห์นี้ความสมดุลย์จะขาดไป
การทำงานของวิตามินในร่างกายคือการทำหน้าที่เป็น Coenzyme ของเอนไซม์ชนิดต่าง ๆ ซึ่งต้องจับกับตัวเอนไซม์แบบ 3D อย่างพอดิบพอดี เหมือนแม่กุญแจกับลูกกุญแจเท่านั้น ส่วนการสังเคราะห์วิตามินนั้น ไม่สามารถจำลองโครงสร้างแบบ 3D ของวิตามินธรรมชาติได้สมบูรณ์แบบ นี่คือเหตุผลว่าทำไมวิตามินซีสังเคราะห์จึงทำหน้าที่ในร่างกายได้ไม่เหมือนวิตามินธรรมชาติ
ความสมดุลย์ของร่างกายและธรรมชาติ ความสมดุลย์นั้นมีอยู่ในธรรมชาติ ด้วยสาเหตุที่มนุษย์กับธรรมชาตินั้นเป็นสิ่งเดียวกัน โครงสร้างของสารเคมีต่าง ๆในร่างกายมนุษย์และธรรมชาติก็คือสิ่งเดียวกัน ดังนั้นความสมดุลย์ของธรรมชาติเท่านั้นที่จะเยียวยาร่างกายของเราได้อย่างยั่งยืน
กระบวนการสกัดสารสำคัญจากพืชสมุนไพรนั้นเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในการนำสมุนไพรหรือพืชผักมาใช้ประโยชน์ หากเรานำสมุนไพรไปแปรรูปในกระบวนการที่ไม่เหมาะสม ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคือการทำลายความสมดุลย์และทำลายสารสำคัญที่เป็นประโยชน์ในสมุนไพรลง เช่นการอบแห้งโดยใช้ความร้อน การสกัดสารสำคัญด้วยสารเคมี เช่น Solvents ชนิดต่าง ๆ เป็นต้น ที่มักใช้ในอุตสาหกรรมการสกัดสารสำคัญทั่วไป
การสกัดสารสำคัญแบบสกัดสดแบบ Whole Food คือกระบวนการสกัดสารสำคัญจากพืชในอุดมคติ ซึ่งนำเอาสารสำคัญจากพืชทั้งหมด แยกออกเฉพาะเยื่อใย หรือFiber เพื่อให้มีความเข้มข้นของสารสำคัญที่มากพอที่จะนำมาใช้สร้างความสมดุลย์และเยียวยารักษาร่างกาย กระบวนการสกัดสดแบบ Whole Food นั้นเป็นสิ่งที่ต้องใช้ความระมัดระวังในด้านของอุณหภูมิ ระยะเวลาการสกัด และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
เป็นกระบวนการผลิตและสกัดสารสำคัญจากพืชสมุนไพรแบบองค์รวม
(Whole Food Extraction) เพื่อเพิ่มคุณค่าของสารสำคัญทำให้สารสำคัญเสถียรไม่เสื่อมสลายตลอดระยะเวลาการเก็บรักษา ซึ่งเป็นกระบวนการที่ได้รับการจดอนุสิทธิบัตรกับกรมทรัพย์สินทางปัญญา
กระบวนการของเราได้เลียนแบบกระบวนการ Stabilize ของธรรมชาติ ซึ่งเป็นการค้นพบโดยบังเอิญว่าน้ำตาลเชิงซ้อน (Saccharide Complex) กลุ่มหนึ่งเมื่อเข้าสู่ กระบวนการฟรีซดราย (Freezedry) จะเกิดการตกผลึก (Crystallization) และกักเก็บสารสำคัญของพืชสมุนไพรไว้ภายใน เกิดกระบวนการตรึงโมเลกุลของสารสำคัญด้วยแรงของพันธะไฮโดรเจนระหว่างน้ำตาลและสารสำคัญ ตกผลึกไว้ด้วยกันในโครงสร้างของ Amylase Helix ซึ่งผลที่ได้คือทำให้สารสำคัญชนิดต่างๆ ในพืชสมุนไพรมีความคงตัวเสถียรไม่เกิดการสลายตัวในช่วงระยะเวลาการเก็บรักษาเป็นระยะเวลานาน
นอกจากนั้นเรายังพบว่าสารสำคัญในพืชสมุนไพรบางชนิดจะถูกเพิ่มปริมาณ (Boosts) ขึ้นได้ด้วยกระบวนการทำงานของ Probiotics เราได้พยายามค้นหากลุ่มของจุลินทรีย์ Probiotics ตามธรรมชาติที่แข็งแรงและมีประสิทธิภาพสูงจนได้ค้นพบกลุ่มจุลินทรีย์ Lactobacillus กลุ่มหนึ่งจากผิวในเปลือกกล้วยน้ำว้าซึ่งประกอบด้วย Lactobacillus หลายสายพันธ์ที่มีประโยชน์ต่อร่างกายและมีประสิทธิภาพในการสร้างเอนไซม์ย่อยสลายทอนสายโมเลกุลของสารสำคัญรวมทั้งการเพิ่มสารสำคัญในพืชสมุนไพรให้เพิ่มขึ้น เช่น GABA , Gamma Oryzanol , Selenium , Vitamins ชนิดต่างๆ
สารสำคัญในพืชสมุนไพรจะอยู่ในรูปที่เสถียรตลอดระยะเวลาการเก็บรักษา แม้แต่สารที่สลายตัวง่ายเช่น วิตามินซี, คลอโรฟิลล์ ทำให้ร่างกายได้รับประโยชน์เต็มที่เมื่อรับประทาน
สารสำคัญในวัตถุดิบจะมีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นเช่น GABA , วิตามิน , แร่ธาตุบางชนิด เช่น Selenium
สารสำคัญจะอยู่ในรูปที่พร้อมดูดซึมเข้าสู่ร่างกายเนื่องจากมีสายโมเลกุลสั้นด้วยกระบวนการทำงานของ Probiotics
สารสำคัญจะถูกเปลี่ยนเป็นรูปแบบที่ร่างกายสามารถใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Probiotics ที่ถูกใช้ในกระบวนการเมื่อเข้าสู่ร่างกายจะช่วยเพิ่มจำนวนและเสริมการทำงานของ Probiotics ในร่างกาย
เป็นกระบวนการสกัดเย็นไม่มีการใช้สารเคมีทำให้รักษาสารสำคัญ , เอนไซม์ต่างๆ ในพืชสมุนไพรไว้ได้ครบถ้วน
ภาพขยายผลึกคริสตัลของน้ำตาลที่กักเก็บสารสำคัญไว้ภายใน
ภาพขยาย 500x ของสารสกัดมะขามป้อมด้วยกระบวนการ Bioactivecrystallization
ภาพขยาย 500x ของสารสกัดใบบัวบก ด้วยกระบวนการ Bioactivecrystallization
ภาพขยาย 500 เท่าของสารสกัดเห็ดหลินจือทั่วไป
ภาพ3D แสดงกระบวนการ Crystallization ของน้ำตาลเชิงซ้อนที่ล้อมรอบและกักเก็บสารสำคัญไว้ภายใน
(1) Mielgo-Ayuso, J.; Aparicio-Ugarriza, R.; Olza, J.; Aranceta-Bartrina, J.; Gil, Á.; Ortega, R.M.; Serra-Majem, L.; Varela-Moreiras, G.; González-Gross, M. Dietary Intake and Food Sources of Niacin, Riboflavin, Thiamin and Vitamin B6 in a Representative Sample of the Spanish Population. The ANIBES Study. Nutrients 2018, 10, 846. https://doi.org/10.3390/nu10070846
(2) Albanes D, Heinonen OP, Taylor PR, Virtamo J, Edwards BK, Rautalahti M, Hartman AM, Palmgren J, Freedman LS, Haapakoski J, Barrett MJ, Pietinen P, Malila N, Tala E, Liippo K, Salomaa ER, Tangrea JA, Teppo L, Askin FB, Taskinen E, Erozan Y, Greenwald P, Huttunen JK. Alpha-Tocopherol and beta-carotene supplements and lung cancer incidence in the alpha-tocopherol, beta-carotene cancer prevention study: effects of base-line characteristics and study compliance. J Natl Cancer Inst. 1996 Nov 6;88(21):1560-70. doi: 10.1093/jnci/88.21.1560. PMID: 8901854.
(3) Bjelakovic G, Nikolova D, Gluud LL, et al. Mortality in Randomized Trials of Antioxidant Supplements for Primary and Secondary Prevention - A Systematic Review and Meta-analysis. JAMA 2007; 297:842–857.
(4) Satia, Jessie A et al: Long-term Use of β-Carotene, Retinol, Lycopene, and Lutein Supplements and Lung Cancer Risk: Results From the VITamins And Lifestyle (VITAL) y, Am J Epidemiol. 2009; 169(7):815–828.
(5) Hercberg S, Ezzedine K, Guinot C; et al. Antioxidant supplementation increases the risk of skin cancers in women but not in men. J Nutr. 2007; 137(9):2098–2105.
(6) Klein, E. A., Thompson, I. M., Jr, Tangen, C. M., Crowley, J. J., Lucia, M. S., Goodman, P. J., Minasian, L. M., Ford, L. G., Parnes, H. L., Gaziano, J. M., Karp, D. D., Lieber, M. M., Walther, P. J., Klotz, L., Parsons, J. K., Chin, J. L., Darke, A. K., Lippman, S. M., Goodman, G. E., Meyskens, F. L., Jr, … Baker, L. H. (2011). Vitamin E and the risk of prostate cancer: the Selenium and Vitamin E Cancer Prevention Trial (SELECT). JAMA, 306(14), 1549–1556. https://doi.org/10.1001/jama.2011.1437
(7) Douglas RM, Hemila H, D'Souza R, Chalker EB, Treacy B. Vitamin C for preventing and treating the common cold. The Cochrane Database of Systematic Reviews 2004, Issue 4. Art. No.: CD000980.pub2. DOI: 10.1002/14651858.CD000980.pub2.
(8) Slatore CG, Littman AJ, Au DH, Satia JA, White E. Long-term use of supplemental multivitamins, vitamin C, vitamin E, and folate does not reduce the risk of lung cancer. Am J Respir Crit Care Med. 2008 Mar 1;177(5):524-30. doi: 10.1164/rccm.200709-1398OC. Epub 2007 Nov 7. PMID: 17989343; PMCID: PMC2258445.
(9) Lin J, Cook NR, Albert C, Zaharris E, Gaziano JM, Van Denburgh M, Buring JE, Manson JE. Vitamins C and E and beta carotene supplementation and cancer risk: a randomized controlled trial. J Natl Cancer Inst. 2009 Jan 7;101(1):14-23. doi: 10.1093/jnci/djn438. Epub 2008 Dec 30. PMID: 19116389; PMCID: PMC2615459.
(10) Klein EA, Thompson IM Jr, Tangen CM, Crowley JJ, Lucia MS, Goodman PJ, Minasian LM, Ford LG, Parnes HL, Gaziano JM, Karp DD, Lieber MM, Walther PJ, Klotz L, Parsons JK, Chin JL, Darke AK, Lippman SM, Goodman GE, Meyskens FL Jr, Baker LH. Vitamin E and the risk of prostate cancer: the Selenium and Vitamin E Cancer Prevention Trial (SELECT). JAMA. 2011 Oct 12;306(14):1549-56. doi: 10.1001/jama.2011.1437. PMID: 21990298; PMCID: PMC4169010.
(11) Neuhouser ML, Wassertheil-Smoller S, Thomson C, Aragaki A, Anderson GL, Manson JE, Patterson RE, Rohan TE, van Horn L, Shikany JM, Thomas A, LaCroix A, Prentice RL. Multivitamin use and risk of cancer and cardiovascular disease in the Women's Health Initiative cohorts. Arch Intern Med. 2009 Feb 9;169(3):294-304. doi: 10.1001/archinternmed.2008.540. PMID: 19204221; PMCID: PMC3868488.
(13) Total and cancer mortality after supplementation with vitamins and minerals: follow-up of the Linxian General Population Nutrition Intervention Trial. Qiao YL, Dawsey SM, Kamangar F, Fan JH, Abnet CC, Sun XD, Johnson LL, Gail MH, Dong ZW, Yu B, Mark SD, Taylor PRJ Natl Cancer Inst. 2009 Apr 1; 101(7):507-18.
(14) Clarke R, Halsey J, Lewington S, Lonn E, Armitage J, Manson JE, Bønaa KH, Spence JD, Nygård O, Jamison R, Gaziano JM, Guarino P, Bennett D, Mir F, Peto R, Collins R; B-Vitamin Treatment Trialists' Collaboration. Effects of lowering homocysteine levels with B vitamins on cardiovascular disease, cancer, and cause-specific mortality: Meta-analysis of 8 randomized trials involving 37 485 individuals. Arch Intern Med. 2010 Oct 11;170(18):1622-31. doi: 10.1001/archinternmed.2010.348. PMID: 20937919.
(15) Creagan ET, Moertel CG, O'Fallon JR, et al. Failure of high-dose vitamin C (ascorbic acid) therapy to benefit patients with advanced cancer. A controlled trial. The New England Journal of Medicine. 1979 Sep;301(13):687-690. DOI: 10.1056/nejm197909273011303.
(16) NIH State-of-the-Science Conference Statement on Multivitamin/Mineral Supplements and Chronic Disease Prevention. NIH Consens State Sci Statements. 2006 May 15-17;23(2):1-30. PMID: 17332802.
(17) Higgins MR, Izadi A, Kaviani M. Antioxidants and Exercise Performance: With a Focus on Vitamin E and C Supplementation. Int J Environ Res Public Health. 2020 Nov 15;17(22):8452. doi: 10.3390/ijerph17228452. PMID: 33203106; PMCID: PMC7697466.